บทสวดธรรมกายานุสติกถา
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
นินทา สรรเสริญ
นินทา สรรเสริญ เป็นธรรมประจำโลก เป็นเหมือนฝาแฝด ไปไหนมักไปคู่กัน ไม่เคยมีใครในโลกนี้แม้สักคนเดียวเช่นกันที่ได้รับแต่คำนินทา
สรรเสริญ นินทา ธรรมดาของโลก
อตุละ การนินทาและสรรเสริญนั่น เป็นของเก่า นั่งไม่ใช้เป็นเหมือนมีในวันนี้ ชนทั้งหลายย่อมนินทาผู้นั่งนิ่งบ้าง ย่อมนินทาผู้พูดมากบ้าง ย่อมนินทาผู้พูพอประมาณบ้าง ผู้ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ไม่ใส่ใจสรรเสริญนินทา
ยากนักที่ใครจะปฏิเสธสรรเสริญและนินทา สรรเสริญ นินทา เป็นของคู่โลกมายาวนาน ถ้าเราใส่ใจคำสรรเสริญนินทา
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 3
การทำอธิมุตกาลกิริยา (อะ-ธิ-มุต-ตะ-กา-ละ-กิ-ริ-ยา) คือการอธิษฐานจิตดับชีพของตนลงมาเกิดสร้างบารมีในโลกมนุษย์นี้ จะทำได้ก็เฉพาะพระโพธิสัตว์เจ้าทั้งหลายที่สถิตอยู่ในสวรรค์ชั้นดุสิตเท่า นั้น
วัดพระธรรมกายปฏิเสธการกล่าวอ้างในเฟซบุ๊กชื่อ "เรา รัก ธรรมกาย"
วัดพระธรรมกาย ขอชี้แจงว่า ข้อความดังกล่าวไม่ใช่ข้อความของวัดพระธรรมกาย แต่เป็นข้อความของผู้ใช้ชื่อในเฟซบุ๊ก เรา รัก ธรรมกาย ซึ่งไม่ใช่พระภิกษุ สามเณร ลูกศิษย์วัด หรือกัลยาณมิตรของวัดพระธรรมกายแต่อย่างใด
กโปตกชาดก-ชาดกว่าด้วยความเป็นผู้มีใจโลเล
อันพระพุทธวัจนทั้งหมดทั้งสิ้นที่ผ่านความยาวนานของกาลเวลามากกว่า 2500 ปีนั้น มีพระธรรมคำสอนเพียงไม่กี่ข้อที่ผู้คนในโลกจำกันขึ้นใจ บุคคลพึงสำเร็จได้ด้วยความเพียรก็เป็นพระพุทธธรรมข้อหนึ่งที่เราจดจำนำไปปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง การปฏิบัติกิจใดโดยความเพียรก็ย่อมมีข้อขันติอดทน ไม่มีใจโลเลเป็นสิ่งนำสู่ความสำเร็จ